designhotelsguide.com

designhotelsguide.com

เจ้าหน้าที่ แรงงานสัมพันธ์ คือ

การเจรจากันเองกำหนดไว้เพียงว่าต้องเริ่มเจรจากันครั้งแรกภายใน 3 วัน หากไม่สามารถตกลงกันได้ การเจรจาสามารถดำเนินต่อไปได้โดยไม่มีการกำหนดระยะเวลาสิ้นสุด ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับทั้งสองฝ่ายจะเจรจากันจนกว่าจะได้ข้อยุติ หรือไม่ประสงค์จะเจรจากันต่อไป คำถามที่ 6 ถ้าเจรจาตกลงกันเองได้ จะต้องทำอย่างไรต่อไป? ถ้าตกลงกันได้ ให้ทำบันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเป็นหนังสือ โดยนายจ้างต้องปิดประกาศข้อตกลงฯ โดยเปิดเผย ณ สถานที่ทำงานเป็นเวลาอย่างน้อย 30 วัน โดยเริ่มประกาศภายใน 3 วันนับแต่วันที่ตกลงกันได้และนายจ้างต้องเป็นผู้นำข้อตกลงฯ ไปจดทะเบียนที่สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด หรือที่สำนักแรงงานสัมพันธ์ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่ตกลงกันได้ หากไม่นำไปจดทะเบียนจะมีโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท คำถามที่ 7 ถ้าเจรจากันแล้วแต่ตกลงกันไม่ได้จะทำอย่างไรต่อไป? ถ้ามีการเจรจากันภายใน 3 วัน และมีการเจรจากันอย่างต่อเนื่องแต่ก็ไม่สามารถตกลงกันได้ และไม่ประสงค์จะเจรจากันเองต่อไป ให้ฝ่ายที่แจ้งข้อเรียกร้องแจ้งเป็นหนังสือต่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน ภายใน 24 ชั่วโมงนับจากเวลาที่ไม่สามารถตกลงกันได้ หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งขอยุติการเจรจา คำถามที่ 8 การแจ้งข้อพิพาทแรงงานต่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานจะแจ้งได้ที่ไหน อย่างไร?

พนักงานตรวจแรงงาน

การ เสริมสร้างระบบแรงงานสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง หรือสหภาพแรงงาน ทั้งสองฝ่ายจะต้องปรับตัวเข้าหากัน โดยอยู่บนพื้นฐานของคำว่า "การเป็นผู้ให้และการเป็นผู้รับ" กล่าว คือ นายจ้างจะต้องเป็นผู้ให้ในสิ่งที่ลูกจ้างต้องการอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ ขณะเดียวกันลูกจ้างก็จะต้องเป็นผู้ให้ผลงาน หรือการทำงานที่ดีมีประสิทธิภาพและคุณภาพกับฝ่ายนายจ้าง เพื่อเป็นการตอบแทนเช่นกัน HR มือใหม่ ควรจะได้ศึกษาพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ. ศ. 2518 ให้เกิดความเข้าใจในกระบวนการขั้นตอนของระบบแรงงานสัมพันธ์ ดังนี้ 1. การเรียกร้องขอปรับปรุงสภาพการจ้าง ถ้านายจ้างหรือลูกจ้างเห็นว่า สภาพการจ้าง เช่น กำหนดเวลาทำงาน ค่าจ้าง สวัสดิการต่างๆ ไม่เหมาะสม พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ. 2518 บัญญัติ ให้ลูกจ้าง หรือนายจ้างมีสิทธิยื่นข้อเรียกร้องต่ออีกฝ่ายหนึ่งได้ เช่น ลูกจ้างขอขึ้นค่าจ้าง ขอเสื้อผ้าชุดทำงาน เป็นต้น และให้ทั้งสองฝ่ายตั้งผู้แทนมาเจรจาต่อรองกัน เมื่อตกลงกันได้ ก็จะเกิดสภาพการจ้างใหม่ที่เป็นไปตามข้อตกลงนั้นๆ 2. การยื่นข้อเรียกร้องที่ถูกต้องตามกฎหมาย มีคำถามว่า เมื่อไรจึงจะยื่นข้อเรียกร้องได้ ถ้าในกรณีมีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมาก่อน ให้ยื่นภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเดิม แต่ถ้าไม่กำหนดระยะเวลาไว้ให้ยื่น เมื่อข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ทำไว้ใกล้จะครบกำหนดอายุข้อตกลง เช่น 30 หรือ 60 วัน ก่อนวันครบอายุข้อตกลง เพื่อทั้งสองฝ่ายจะได้มีเวลาเจรจาต่อรองทำข้อตกลงใหม่ต่อเนื่องจากข้อตกลงเดิม แต่ในกรณีที่ยังไม่เคยมีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างมาก่อนเลย จะยื่นข้อเรียกร้องเมื่อไรก็ได้ 3.

HR มือใหม่: มาเรียนรู้การเสริมสร้างแรงงานสัมพันธ์กันดีกว่า - jobbkk.com

กฤติน กุลเพ็ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอโอดีคอนเซาท์ติ้ง แอนด์เทรนนิ่ง จำกัด วิทยากรและที่ปรึกษา ให้กับภาครัฐและภาคเอกชน ID line: krittin6

ศูนย์ PIPO คืออะไร? - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดระยอง

  1. ราคา รถจักรยานยนต์ honda wave bus
  2. ดู ice age 5
  3. โรง พยาบาล เกาะ เต่า
  4. ทบทวนCasio CDP-S350 เปียโนไฟฟ้า คีย์มาตรฐาน 88 Keys แถมฟรี เก้าอี้ + ขาตั้ง + ที่วางโน้ต + Sustain Pedal | Good price
  5. เคส 425 iphone 11 256gb
  6. Wwe 2k17 ost list
  7. เสื้อ คอถ่วง ผ้า ซาติน
  8. วง tt ใจ หมา
  9. สลาก 16 พฤศจิกายน 2564 full
  10. สอบ ภายใน ตำรวจ
  11. เจ้าหน้าที่แรงงานสัมพันธ์ คือ
  12. พนักงานตรวจแรงงาน

Krittin • การบริหารแรงงานสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์

นายจ้าง หรือลูกจ้างยื่นข้อเรียกร้องต่อกันเป็นหนังสือ 2. ตั้งตัวแทนฝ่ายละไม่เกิน 7 คน เข้าเจรจาต่อรองกัน 3. ถ้าตกลงกันได้ จัดทำบันทึกข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างและจดทะเบียนข้อตกลงกับเจ้าหน้าที่ 4. แต่ละฝ่ายปฎิบัติตามข้อตกลง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ิ 5. ถ้าเจรจาตกลงกันเองไม่ได้ถือว่าเกิดข้อพิพาทแรงงาน ต้องแจ้งให้พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานเข้าไปร่วมเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแรงงาน 6. ถ้าไกล่เกลี่ยตกลงกันได้ก็จัดทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างและจดทะเบียนข้อตกลง 7. ถ้าเจรจาไกล่เกลี่ยตกลงกันไม่ได้ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจกดดันอีกฝ่ายโดย ฝ่ายลูกจ้างนัดหยุดงาน หรือฝ่ายนายจ้างปิดงาน จนกว่าอีกฝ่ายจะยินยอมตกลงด้วย ตามที่กล่าวข้างต้น เป็นขั้นตอนคร่าว ๆ นะครับ ยังมีรายละเอียดปลีกย่อยที่ต้องศึกษาเพิ่มเติมอีก การนับระยะเวลา วิธีการต่าง ๆ ต้องดูจาก พรบ. แรงงานสัมพันธ์พ. ศ. 2518 นี่คือกระบวนการขั้นตอนแรงงานสัมพันธ์ที่ถูกต้อง แตที่่ท่านเห็นเขาพากันเดินขบวนไปทำเนียบ ไปกระทรวงแรงงาน ไปสนามหลวงนั้น เป็นเรื่องนอกเหนือกระบวนการแรงงานสัมพันธ์ แต่พวกเขาอาจทำได้ตามรัฐธรรมนูญ ถ้าไม่สร้างความเดือดร้อนให้ใคร ก็คงไม่เป็นไร...

Jobdst.com - ค้นหางาน

กรณีที่สถานประกอบกิจการอยู่ในจังหวัดใด ให้ผู้แจ้งข้อเรียกร้องแจ้งต่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานที่สำนักงาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดนั้น กรณีที่อยู่ในกรุงเทพมหานครให้แจ้งที่กลุ่มงานประนอมข้อพิพาทแรงงานและข้อ ขัดแย้ง สำนักแรงงานสัมพันธ์ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยต้องทำเป็นหนังสือแจ้งต่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานภายใน 24 ชั่วโมงนับแต่ไม่มีการเจรจากันเอง หรือมีการเจรจากันแล้วแต่ไม่สามารถตกลงกันได้ คำถามที่ 9 เมื่อแจ้งข้อพิพาทแรงงานต่อพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานแล้ว ขั้นตอนจะเป็นอย่างไรต่อไป? พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานจะทำหนังสือเชิญทั้งสองฝ่ายมาพบ เพื่อเจรจากันและหาแนวทางยุติข้อพิพาทแรงงาน ซึ่งระยะเวลาในการไกล่เกลี่ยตามกฎหมายกำหนดไว้ 5 วัน และเมื่อตกลงแล้วนายจ้างจะต้องนำข้อตกลงฯ ไปจดทะเบียนภายใน 15 วัน คำถามที่ 10 ถ้ายังตกลงกันไม่ได้มีขั้นตอนอย่างไรต่อไป? ในกรณีที่เกิดข้อพิพาทแรงงานขึ้นและเป็นข้อพิพาทแรงงานที่ไม่สามารถตกลงกัน ได้และครบระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด 5 วันแล้ว หากนายจ้างประสงค์จะใช้สิทธิ์ปิดงานหรือลูกจ้างประสงค์จะใช้สิทธิ์นัดหยุด งานก็สามารถทำได้ในขั้นตอนนี้ โดยจะต้องแจ้งให้อีกฝ่ายหนึ่งและพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานทราบเป็น หนังสือ ก่อนจะใช้สิทธิ์นัดหยุดงาน หรือปิดงาน อย่างน้อย 24 ชั่วโมง คำถามที่ 11 ถ้าเจ้าหน้าที่ไกล่เกลี่ยเกิน 5 วันแล้ว แต่ยังไม่สามารถตกลงกันได้ ลูกจ้างหรือนายจ้างต้องนัดหยุดงาน หรือปิดงานหรือไม่?

เจ้าหน้าที่แรงงานสัมพันธ์ ต่างจา HR ยังไงหรอครับ - Pantip

การเจรจาต่อรอง (อ่านมาตรา16, 17) ให้ทั้งสองฝ่ายมีการเจรจาภายในเวล 3 วัน ฝ่ายนายจ้างหรือฝ่ายลูกจ้างซึ่งรับข้อเรียกร้องต้องแจ้งชื่อผู้แทนในการ เจรจา และเริ่มต้นในการเจรจาต่อรองกับผู้แทนฝ่ายที่ยื่นข้อเรียกร้อง ถ้า ตกลงกันได้ให้ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ ผู้แทนในการเจรจาของทั้งสองฝ่ายลงลายมือชื่อร่วมกัน จากนั้นให้นายจ้างประกาศข้อตกลงโดยเปิดเผย ณ สถานที่ที่ลูกจ้างทำงานอยู่ และให้นายจ้างนำข้อตกลงไปจดทะเบียนกับพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน ภายใน15วัน นับแต่วันที่ตกลงกันได้ 5.

แรงงานสัมพันธ์

"พนักงานตรวจแรงงาน" หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ. ศ.

/โทรสาร 0-2246-8825, 0-2246-8455, 0-2246-8993, 0-2245-7688 7. ข้อคิดเตือนใจ 1. ใน ระหว่างการยื่นข้อเรียกร้องกฎหมายให้ความคุ้มครองลูกจ้าง ห้ามมิให้นายจ้าง เลิกจ้าง หรือกระทำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้โดยอาจถือว่า เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมของนายจ้างได้ (มาตรา 52, 121, 122, 123) 2. การนัดหยุดงานผิดขั้นตอนอาจถูกเลิกจ้างและถูกฟ้องเรียกค่าเสียหาย 3. ระหว่างเจรจาข้อพิพาทแรงงานอย่ากระทำการใดๆอันเป็นการละเมิดสิทธิของผู้อื่นหรือผิดกฎหมายใดๆ 4. ระหว่างนัดหยุดงานนายจ้างมีสิทธิไม่จ่ายค่าจ้าง 5. การเรียกร้องการเจรจา ควรเป็นไปด้วยเหตุผล หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์และกระทำที่เป็นการยั่วยุอีกฝ่ายหนึ่ง 6. ควรระลึกอยู่เสมอว่าทั้งนายจ้างและลูกจ้างจะต้องกลับไปทำงานร่วมกันอีก 7.

  1. Gbp to sgd exchange rate
  2. แอ พ โปร ชุด
  3. Absolute physics สมชาย calculator
  4. แก้ ชง ปี หนู
  5. ราคารถเบนซ์ c200
  6. Sat test date 2020 thailand
  7. วิธี แก้ เท้า แพลง
  8. ภาพอาหารจานเดียว
  9. เว็บ ประมูล โทรศัพท์
  10. หวย อาจารย์ มี ชัย พล
  11. วันที่ 16 กรกฎาคม 2564 2
  12. วันพีช ตอนที่ 997 พากย์ไทย
  13. กระดาษขนาด a0 ในระบบ si มีพื้นที่เท่าไร
  14. Tfrs 9 ผล กระทบ
how-to-check-network-bandwidth